วันอาทิตย์ที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2556

SCANNER MOUSE

Scanner mouse.
Scanner Mouse ที่ถือได้ว่าเป็นครั้งแรกของโลกที่มีเมาส์ที่มีความสแกนภาพในตัวจากการติด ตั้งเซ็นเซอร์มากกว่าเมาส์ทั่วไป เรียกได้ว่าเป็นการรวมความคุณสมบัติเข้ากันได้อย่างลงตัว ถือได้ว่าเป็นอุปกรณ์ไอทีอีกชิ้นที่เป็นนวัตกรรมหนึ่งเลยทีเดียวที่  ซึ่งหลักๆ แล้วเมาส์คอมพิวเตอร์โดนทั่วไปจะทำหน้าที่เป็นตัวควบคุมการทำงานบนหน้าจอ ผ่านทางลูกศร (เคอร์เซอร์) ที่หากเราต้องการเปิดปิดโปรแกรม หรือเคลื่อนไอคอนต่างๆ เลื่อนดูหน้าเอกสาร ก็สามารถทำได้ผ่านทางเมาส์ แต่สำหรับ LG LSM-100 Scanner Mouse นั้น เป็นได้มากกว่าด้วยการนำคุณสมบัติสแกนเข้าไปรวมด้วย อีกทั้งยังสามารถนำเข้าโปรแกรมเพื่อทำการตกแต่งแก้ไขได้อย่างง่ายดายและรวด เร็ว นอกเหนือจากนั้นยังเซฟไฟล์ได้หลายนาสกุลไฟล์ให้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งาน ได้หลากหลาย ไม่ว่าจะเป็น PNG, JPEG, TIFF และ PDF เป็นต้น 
Scanner Mouse เหมาะสมมากๆ สำหรับคนที่มีความจำเป็นต้องสแกนเอกสารหรือภาพบ่อยๆ เพื่อแปลงเป็นไฟล์ดิจิตอล ในส่วนของราคาก็อยู่ที่ประมาณ $148 หรือคิดเป็นเงินไทยก็ตกอยู่ที่ 4,500 บาท ซึ่งก็จัดได้ว่าราคาไม่สูงมากนัก




คุณสมบัติของ scanner mouse
- ใช้สแกนได้กับทุกเอกสารที่อยู่ด้านล่างของเม้าส์ วิธีการสแกนก็แค่ลากเม้าส์ไปวางทับให้ครอบคลุมทั้งภาพ ภาพที่ได้ก็จะปรากฎบนจอ ให้เราสามารถปรับแต่งสี หรือตัดส่วนที่ไม่ต้องการออกได้ (ความละเอียดอยู่ที่ 300 dpi)
- สามารถดึงเนื้อหาที่เป็นข้อความในเอกสาร ลากไปวางในโปรแกรมไมโครซอฟท์ออฟฟิศได้ทันทีโดยไม่ต้องพิมพ์ใหม่ให้เสียเวลา

บริษัทที่ผลิต
1. แอลจี อีเลคโทรนิคส์ (LG Electronics)
2. Shenzhen Kingree Electronic

3. บริษัทแอลเอ็นดับเบิ้ลยู จำกัด (LNW)

นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัส 56115550122  สาขาวิชาภาษาไทย

วันอาทิตย์ที่ 11 สิงหาคม พ.ศ. 2556

ความรู้วันนี้ 06/08/2556

1. แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือฟลอบปีดิสก์




แผ่นดิสก์แบบอ่อน หรือ ฟลอปปีดิสก์ (อังกฤษfloppy disk) หรือที่นิยมเรียกว่า แผ่นดิสก์ หรือ ดิสเกตต์ (diskette) หรือ แผ่นบันทึก (ศัพท์บัญญัติ) เป็นอุปกรณ์เก็บข้อมูล ที่อาศัยหลักการเหนี่ยวนำของสนามแม่เหล็ก โดยทั่วไปมีลักษณะบางกลมและบรรจุอยู่ในแผ่นพลาสติกสี่เหลี่ยม คอมพิวเตอร์สามารถอ่านและเขียนข้อมูลลงบนฟลอปปีดิสก์ ผ่านทางฟลอปปีดิสก์ไดร์ฟ (floppy disk drive)






2. ฮาร์ดดิส




ฮาร์ดดิสก์ (อังกฤษhard disk drive) หรือ จานบันทึกแบบแข็ง (ศัพท์บัญญัติ) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่บรรจุข้อมูลแบบไม่ลบเลือน มีลักษณะเป็นจานโลหะที่เคลือบด้วยสารแม่เหล็กซึ่งหมุนอย่างรวดเร็วเมื่อทำงาน การติดตั้งเข้ากับตัวคอมพิวเตอร์สามารถทำได้ผ่านการต่อเข้ากับแผงวงจรหลัก (motherboard) ที่มีอินเตอร์เฟซแบบขนาน (PATA) , แบบอนุกรม (SATA) และแบบเล็ก (SCSI) ทั้งยังสามารถต่อเข้าเครื่องจากภายนอกได้ผ่านทางสายยูเอสบี, สายไฟร์ไวร์ รวมไปถึงอินเตอร์เฟซอนุกรมแบบต่อนอก (eSATA) ซึ่งทำให้การใช้ฮาร์ดดิสก์ทำได้สะดวกยิ่งขึ้นเมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์ถาวรเป็นของตนเอง





3. CD-ROM




แผ่นซีดี ย่อมาจาก คอมแพ็กดิสก์ (compact disc) คือแผ่นออฟติคอลเก็บข้อมูลดิจิทัลต่าง ๆ ซึ่งเดิมพัฒนาสำหรับเก็บเสียงดิจิทัล ซีดีคือมาตรฐานรูปแบบการบันทึกเสียงทางการค้าในปัจจุบัน





4. DVD


ดีวีดี (อังกฤษDigital Versatile Disc; ชื่อย่อ DVD) เป็นแผ่นข้อมูลแบบบันทึกด้วยแสง (optical disc) ที่ใช้บันทึกข้อมูลต่างๆ เช่น ภาพยนตร์ โดยให้คุณภาพของภาพและเสียงที่ดี ดีวีดีถูกพัฒนามาใช้แทนซีดีรอม โดยใช้แผ่นที่มีขนาดเดียวกัน (เส้นผ่าศูนย์กลาง 12 เซนติเมตร) แต่ว่าใช้การบันทึกข้อมูลที่แตกต่างกัน และความละเอียดในการบันทึกที่หนาแน่นกว่า
เดิมทีดีวีดีมาจากชื่อย่อว่า digital video disc แต่ในภายหลังผู้ผลิตบางรายเห็นว่าควรเปลี่ยนชื่อเป็น digital versatile disc ปัจจุบันตามคำนิยามอย่างเป็นทางการแล้ว DVD ไม่ได้ย่อมาจากชื่อเต็มแต่อย่างใด
ความเร็วในการเขียนแผ่นดีวีดี 1x มีค่าเท่ากับ 10.5 Mb/s หรือราวๆ 1.32 MB/s
เครื่องเขียนแผ่นดีวีดี (DVD Writer) คือ เครื่องสำหรับการบันทึกข้อมูลลงบนแผ่นดีวีดี
DVD ยังมีการแบ่งโซนไว้ทั้งหมดถึง ๘ โซน




5. ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์




ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ (อังกฤษUSB flash drive) เป็นอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สำหรับเก็บข้อมูลโดยใช้หน่วยความจำแบบแฟลช ทำงานร่วมกับยูเอสบี 1.1 หรือ 2.0 มีขนาดเล็ก น้ำหนักเบา ในปัจจุบัน แฟลชไดรฟ์มีความจุตั้งแต่ 4 GB ถึง 2TB โดยทั่วไปไดรฟ์จะทำงานได้ในหลายระบบปฏิบัติการซึ่งรวมถึง วินโดวส์ 98/ME/2000/XP/Vista/7 แมคอินทอช ลินุกซ์ และยูนิกซ์
แฟลชไดรฟ์ รู้จักกันในชื่อต่างๆ รวมถึง "ทัมบ์ไดรฟ์" "คีย์ไดรฟ์" "จัมป์ไดรฟ์ และชื่อเรียกอื่น โดยขึ้นอยู่กับผู้ผลิต ปัจจุบันชื่อสากล จะเรียกว่าแฟลชไดรฟ์
ชื่อเรียกอื่นของแฟลชไดรฟ์
ชื่อเรียกของแฟลชไดรฟ์ (รวมถึงคำว่าแฟลชไดรฟ์) ไม่มีชื่อพื้นฐานที่กำหนด โดยผู้ผลิตได้ตั้งชื่อเป็นโมเดลของตัวเอง ซึ่งได้แก่
  • คีย์ไดรฟ์ (key drive)
  • จัมป์ไดรฟ์ (jump drive) เครื่องหมายการค้าของเล็กซาร์
  • ดาต้าคีย์ (data key)
  • ดาต้าสติ๊ก (data stick)
  • ทราเวลไดรฟ์ (travel drive) เครื่องหมายการค้าของ เมโมเร็กซ์
  • ทัมบ์ไดรฟ์ (ThumbDrive) เครื่องหมายการค้าของ เทร็ค
  • ทัมบ์คีย์ (thumb key)
  • เพนไดรฟ์ (pen drive)
  • ฟิงเกอร์ไดรฟ์ (finger drive)
  • แฟลชไดรฟ์ (flash drive)
  • แฟลชดิสก์ (flash disk)
  • เมโมรีไดรฟ์ (memory drive)
  • ยูเอสบีไดรฟ์ (usb drive)
  • ยูเอสบีคีย์ (usb key)
  • แฮนดีไดรฟ์ (handy drive)





6. บลูเรย์ดิสก์








บลูเรย์ดิสค์ (อังกฤษBlu-ray Disc) หรือ บีดี (BD) คือรูปแบบของแผ่นออพติคอลสำหรับบันทึกข้อมูลความละเอียดสูง ชื่อของบลูเรย์มาจาก ช่วงความยาวคลื่นที่ใช้ในระบบบลูเรย์ ที่ 405 nm ของเลเซอร์สี "ฟ้า" ซึ่งทำให้สามารถเก็บข้อมูลได้มากกว่าดีวีดี ที่มีขนาดแผ่นเท่ากัน โดยดีวีดีใช้เลเซอร์สีแดงความยาวคลื่น 650 nm






7. การ์ดเมมโมรี่ (Memory Unit)



แผ่นเก็บบันทึกภาพที่มีหน่วยความจำเป็น MB เมกะไบท์ โดยทั่วไปความสามารถในการเก็บบันทึกภาพจะขึ้นกับความละเอียดของภาพที่ตั้งค่าเอาไว้ในกล้องดิจิตอล เช่นMemory card ความจุ 16 MB สามารถเก็บบันทึกภาพขนาด 5 MP ได้ 6 – 11 รูป เป็นต้น




นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัส 56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย

วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

ความรู้วันนี้ (2 กรกฏาคม 2556)


อุปกรณ์เครื่องฉาย
     เครื่องฉาย คือ อุปกรณืที่เป็นสื่อกลางในการนำเสนองานต่างๆที่เราต้องการถ่ายทอด  มีทั้งภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบ
      1. หลอดไฟหรือหลอดฉาย     
     2. เลนส์นูน (รวมแสง)
     3. เลนส์เว้า (กระจายแสง)
LCD โปรเจ็กเตอร์  หน้าจอจะมี 3 ลักษณะ
     1. สีขาว
     2. สีเงิน
     3. จอแก้ว
     ขนาดของภาพจะเล็กหรือใหญ่นั้นขึ้นอยู่กับว่าเรานั้นวางเครื่องใกล้หรือไกล  ถ้าเราวางใกล้ก็จะทำให้ขนาดภาพนั้นเล็ก
Overhead หรือเครื่องฉายภาพข้ามศรีษะ  ชนิดฉายแผ่นโปร่งใส มี 2 แบบ 
     1. แบบตั้งโต๊ะ   
     2. แบบพกพา
เครื่องแปลงสัญญาณจากภาพ (วิชวล)  สามารถใช้ได้กับภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว  และยังสามารถต่อกับอุปกรณ์ฉายภาพได้หลายแบบ เช่น โทรทัศน์ แต่ที่นิยมใช้ที่สุด คือ เครื่องLCD 
     - ประโยชน์ของเครื่องวิชวล
     1. สามารถนำเสนอเป็นแบบ 3 มิติได้
     2. สามารถใช้เป็นกล้องโทรทัศน์วงจรปิดได้
     3. สามารถปรับให้ภาพของเราชัดเจนและทำให้เรานำเสนองานได้ครบถ้วน  แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดคือบริเวณที่ฉาย (กล้อง)

**เครื่องฉายภาพส่วนใหญ่จะมีพัดลมระบายอากาศอยู่ในตัว  เพราะช่วยในการระบายความร้อน

นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัสนักศึกษา  56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย


วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ความรู้วันนี้ (25 มิถุนายน 2556)

ความรู้วันนี้ (25 มิถุนายน 2556)

"ลักษณะของคำในภาษาไทย"
1. คำในภาษาไทยจะเป็น "คำโดด" คือ คำที่มีพยางค์เดียว  และมีความหมายสมบูรณ์ในตัว
2. สะกดตรงตามมาตรา มี 8 มาตรา คือ แม่กก แม่กง แม่กด แม่กน แม่กบ แม่กม แม่เกย แม่เกอ
3. ภาษาไทยจะมีเาียงวรรณยุกต์  เสียงวรรณยุกต์จะมีอยู่ในคำภาษาไทยทุกคำ
4. คำในภาษาไทยคำเดียว  อาจมีหลายหน้าที่หลายความหมาย
5. ภาษาไทยจะเรียงประโยคแบบ S,V,O ซึ่งแต่ละภาษานั้นจะเรียงประโยคไม่เหมือนกัน  เช่น  ภาษาบาลี จะเอากรรมไว้ข้างหน้าแล้วเอาคำนามไว้ข้างหลัง
6. คำในภาษาไทยจะเป็นลักษณะนาม เช่นคำว่า "ช้าง" ช้างป่าก็จะเรียกเป็นตัว, ช้างบ้านก็จะเรียกเป็นเชือก
7. คำในภาษาไทยจะไม่ใช้ทัณฑฆาต (  ์ ) 
    - ทัณฑ  แปลว่า  เสียง
    - ฆาต  แปลว่า  ฆ่า
8. ภาษาไทยจะมีวรรคตอนทั้งในการพูดและเขียน
9. ภาษาไทยจะมีเรื่องระดับภาษา ได้แก่  ระดับทางการ  ระดับพิธีการ  ระดับกึ่งทางการ  ระดับกันเอง  ระดับสนทนา

คำในภาษาไทยเกิดขึ้นด้วย 3 องค์ประกอบ คือ
1. พยัญชนะ  จะมี  44  รูป  21  เสียง  ( พยัญชนะต้นมี 5 ตัว  คือ ก ค ป พ ต )
2. สระ  จะมี 21  รูป  21  เสียง
3. วรรณยุกต์  จะมี  5  รูป  5  เสียง


นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัส 56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย

ความรู้วันนี้ (18 มิถุนายน 2556)

ความรู้วันนี้ (18 มิถุนายน 2556)
1.       คนไทยส่วนใหญ่มาจากเทือกเขาอัลไตแถบตอนใต้ของประเทศจีน  ประเทศไทยถูกชาวจีนรุกราน จึงถูกแบ่งแยกออกเป็น 2 สาย คือลาวกับพม่า  และยังมีการทำพิธีการโดยการเชือดไก่แล้วให้สาบาญให้เป็นพี่น้องกัน  จึงเรียกสถานที่แห่งนั้นว่า “ดอยปากไก่” จนถึงปัจจุบันนี้
2.       จังหวัดลพบุรี  มีสถานที่สำคัญคือ 1.ปรางค์สามยอด 2.ปรางค์แขก 3.ศาลพระกาฬ  มีแหล่งเรียนรู้ว่าที่เรียกว่า “เขาสมอคอน”  ซึ่งเป็นมหาวิทยาลัยแห่งแรกของโลก มีฤาษีอาศัยอยู่ และพ่อขุนรามคำแหงก็ได้มาศึกษาที่     เขาสมอคอนแห่งนี้
3.       จังหวัดลพบุรีจะมีวงเวียนอยู่ 2 วงเวียน
3.1     วงเวียนเทพสตรี (วงเวียนสระแก้ว)
3.2     วงเวียนศรีสุนทร
4.       จังหวัดลพบุรี  มีเมืองซ้อนกันอยู่ถึง 3 เมือง
5.       อยุธยาได้รับวัฒนธรรมมาจากเขมร
6.       อักษรอริยกะ รัชกาลที่ 4 ได้คิดค้นอักษรอริยกะขึ้นมา  เพื่อใช้ในทางพระพุทธศาสนา แต่ในปัจจุบันนี้อักษรอริยกะได้เลิกใช้ไปนานแล้ว

นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัส 56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย

ความหมายของคำว่า "ภาษา"


ความหมายของคำว่า “ภาษา”
ความหมายที่๑
ภาษาในความหมายอย่างกว้าง หมายถึง กริยาอาการที่แสดงออกมาแล้วสามารถทำความเข้าใจกันได้ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสัตว์ หรือสัตว์กับสัตว์ ส่วนภาษาในความหมายอย่างแคบนั้น หมายถึง เสียงพูดที่มนุษย์ใช้สื่อสารกันเท่านั้น
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2542 ได้ให้คำจำกัดความของคำว่า ภาษา ไว้ว่า "ถ้อยคำที่ใช้พูดหรือเขียนเพื่อสื่อความของชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เช่น ภาษาไทย ภาษาจีน หรือเพื่อสื่อความเฉพาะวงการ เช่น ภาษาราชการ ภาษากฎหมาย ภาษาธรรมเสียง ตัวหนังสือ หรือกิริยาอาการที่สื่อความได้ เช่น ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาท่าทาง ภาษามือ"
วิชาที่ว่าด้วยการศึกษาภาษาในแง่ต่างๆ เรียกว่า "ภาษาศาสตร์" เริ่มบุกเบิกโดยแฟร์ดินอง เดอ โซซูร์ (Ferdinand de Saussure) บุคคลที่พูดภาษาใดก็ตาม ถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนเชิงภาษาศาสตร์ของภาษานั้น ๆ
          ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2
ความหมายที่๒
ความหมายของภาษา
บันลือ  พฤกษะวัน(2522, หน้า 5) ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ว่า คือเครื่องมือที่ใช้สื่อความหมายที่สำคัญที่สุดของมนุษย์” เมย์ (MAY,  อ้างถึง  บันลือ  พฤกษะวัน ,2533, หน้า5)ได้กล่าวถึงภาษาว่า  การที่มนุษย์ใช้ภาษาสื่อความหมายกันได้  ย่อมเป็นเครื่องแสดงว่ามนุษย์ประเสริฐกว่าสัตว์  นอกจากนี้  ศุภวัตน์  ชื่นชอบ  ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ว่า  ภาษาคือเครื่องมือการสื่อสาร (2524, หน้า1)และพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน(2530, หน้า203)ได้ให้ความหมายของภาษาไว้ดังนี้ ภาษา  หมายถึง  เสียงหรือกริยาอาการที่เป็นสื่อเข้าใจความหมายรู้กันได้,คำพูด,ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน โดยสรุปแล้วภาษาก็คือเครื่องมือที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารกันและกันให้เข้าใจนั่นเอง


นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัสนักศึกษา 56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย

วันอาทิตย์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2556

ความหมายของคำว่า "EDUCATION"


Education.
Education in its general sense is a form of learning in which the knowledge, skills, and habits of a group of people are transferred from one generation to the next through teaching, training, or research. Education frequently takes place under the guidance of others,  Any experience that has a formative effect on the way one thinks, feels, or acts may be considered educational.
Etymology. Etymologically, the word "education" is derived from the Latin. which is related to the homonym
The role of government. A right to education has been created and recognized by some jurisdictions: Since 1952, Article 2 of the first Protocol to the European Convention on Human Rights obliges all signatory parties to guarantee the right to education. It does not however guarantee any particular level of education of any particular quality. At the global level, the United Nations' International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights of 1966 guarantees this right under Article 13.
Type of education. There are three forms of learning defined by the Organisation for Economic Co-operation and Development (OECD): formal education, informal education and non-formal education.
Formal education. Systems of schooling involve institutionalized teaching and learning in relation to a curriculum, which itself is established according to a predetermined purpose of the schools in the system. Schools systems are sometimes also based on religions, giving them different curricula.
Curriculum. In formal education, a curriculum is the set of courses and their content offered at a school or university. As an idea, curriculum stems from the Latin word for race course, referring to the course of deeds and experiences through which children grow to become mature adults. A curriculum is prescriptive, and is based on a more general syllabus which merely specifies what topics must be understood and to what level to achieve a particular grade or standard.
An academic discipline is a branch of knowledge which is formally taught, either at the university–or via some other such method. Each discipline usually has several sub-disciplines or branches, and distinguishing lines are often both arbitrary and ambiguous. Examples of broad areas of academic disciplines include the natural sciences, mathematics, computer science, social sciences, humanities and applied sciences.
Systems of higher education
Higher education, also called tertiary, third stage, or post secondary education, is the non-compulsory educational level that follows the completion of a school providing a secondary education, such as a high school or secondary school. Tertiary education is normally taken to include undergraduate and postgraduate education, as well as vocational education and training. Colleges and universities are the main institutions that provide tertiary education. Collectively, these are sometimes known as tertiary institutions. Tertiary education generally results in the receipt of certificates, diplomas, or academic degrees.
Higher education generally involves work towards a degree-level or foundation degree qualification. In most developed countries a high proportion of the population (up to 50%) now enter higher education at some time in their lives. Higher education is therefore very important to national economies, both as a significant industry in its own right, and as a source of trained and educated personnel for the rest of the economy.
University systems
University education includes teaching, research, and social services activities, and it includes both the undergraduate level (sometimes referred to as tertiary education) and the graduate (or postgraduate) level (sometimes referred to as graduate school). Universities are generally composed of several colleges. In the United States, universities can be private and independent, like Yale University, they can be public and State governed, like the Pennsylvania State System of Higher Education, or they can be independent but State funded, like the University of Virginia.





การศึกษา
การศึกษา   การศึกษาในความหมายทั่วไปคือรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ที่มีความรู้ทักษะและพฤติกรรมของกลุ่มคนที่ถูกโอนจากคนรุ่นหนึ่งไปยังอีกผ่านการเรียนการสอนการฝึกอบรมหรือการวิจัย การศึกษามักจะเกิดขึ้นภายใต้การแนะนำของผู้อื่น ประสบการณ์ใด ๆ ที่มีผลกระทบต่อการก่อสร้างในทางหนึ่งคิดความรู้สึกหรือการกระทำที่อาจมีการพิจารณาการศึกษา
นิรุกติศาสตร์  รากศัพท์คำว่า "การศึกษา" มาจากภาษาละติน ซึ่งเกี่ยวข้องกับไวพจน์
บทบาทของรัฐบาล  สิทธิในการศึกษาได้รับการสร้างขึ้นและได้รับการยอมรับโดยบางเขตอำนาจศาล: ตั้งแต่ปี 1952 ข้อ 2 ของพิธีสารแรกที่ยุโรปอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนบังคับภาคีสมาชิกทั้งหมดที่จะรับประกันสิทธิในการศึกษา มันไม่ได้ แต่รับประกันใด ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดับของการศึกษาที่มีคุณภาพโดยเฉพาะใด ๆ ในระดับโลก, ข้อตกลงระหว่างประเทศของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมของ 1966 นี้รับรองสิทธิภายใต้ข้อ 13
ประเภทของการศึกษา  การศึกษาอย่างเป็นทางการทางการศึกษาและการศึกษานอกระบบมีสามรูปแบบของการเรียนรู้ที่กำหนดโดยองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (OECD)
การศึกษาอย่างเป็นทางการ  ระบบการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับการเป็นสถาบันการเรียนการสอนและการเรียนรู้ในความสัมพันธ์กับหลักสูตรที่ตัวเองก่อตั้งขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ล่วงหน้าจากโรงเรียนในระบบ ระบบโรงเรียนมีบางครั้งยังขึ้นอยู่กับศาสนาทำให้พวกเขามีหลักสูตรที่แตกต่างกัน
หลักสูตร  ในด้านการศึกษาอย่างเป็นทางการหลักสูตรคือชุดของหลักสูตรและเนื้อหาของพวกเขาให้บริการที่โรงเรียนหรือมหาวิทยาลัย ในฐานะที่เป็นความคิดหลักสูตรเกิดจากคำภาษาละตินสำหรับสนามแข่งหมายถึงหลักสูตรของการกระทำและประสบการณ์ผ่านการที่เด็กจะเติบโตเป็นผู้ใหญ่ หลักสูตรคือกำหนดและจะขึ้นอยู่กับหลักสูตรทั่วไปมากขึ้นซึ่งเป็นเพียงการระบุหัวข้อที่จะต้องเข้าใจและสิ่งที่ระดับเพื่อให้บรรลุเกรดเฉพาะหรือมาตรฐาน
วินัยทางวิชาการที่เป็นสาขาของความรู้ที่สอนอย่างเป็นทางการทั้งในมหาวิทยาลัยหรือผ่านวิธีการอื่น ๆ บางอย่างเช่น แต่ละสาขาวิชาจะมีย่อยหลายสาขาหรือสาขาและเส้นที่แตกต่างมักจะมีทั้งสองโดยพลการและคลุมเครือ ตัวอย่างของพื้นที่ในวงกว้างของสาขาวิชาการรวมถึงวิทยาศาสตร์ธรรมชาติคณิตศาสตร์วิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์สังคมศาสตร์มนุษยศาสตร์และวิทยาศาสตร์ประยุกต์
ระบบการศึกษาที่สูงขึ้น  การศึกษาระดับสูงที่เรียกว่าตติยภูมิขั้นตอนที่สามหรือการศึกษาระดับมัธยมศึกษาโพสต์คือไม่บังคับระดับการศึกษาที่เป็นไปตามความสำเร็จของโรงเรียนให้การศึกษาระดับมัธยมศึกษาเช่นโรงเรียนมัธยมหรือโรงเรียนมัธยม การศึกษาในระดับอุดมศึกษาจะได้รับตามปกติจะรวมถึงการศึกษาระดับปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรีเช่นเดียวกับการอาชีวศึกษาและการฝึกอบรม วิทยาลัยและมหาวิทยาลัยเป็นสถาบันหลักที่ให้การศึกษาในระดับอุดมศึกษา เรียกรวมกันเหล่านี้เป็นที่รู้จักกันบางครั้งก็เป็นสถาบันอุดมศึกษา การศึกษาในระดับอุดมศึกษาโดยทั่วไปผลในใบเสร็จรับเงินของใบรับรองประกาศนียบัตรหรือวิชาการองศา
การศึกษาระดับอุดมศึกษาทั่วไปเกี่ยวกับการทำงานต่อระดับปริญญาตรีหรือคุณวุฒิระดับรากฐาน ในประเทศที่พัฒนามากที่สุดในสัดส่วนที่สูงของประชากร (ถึง 50%)
ในขณะนี้เข้าสู่การศึกษาระดับสูงที่บางครั้งในชีวิตของพวกเขา การศึกษาระดับอุดมศึกษาดังนั้นจึงเป็นเรื่องที่สำคัญมากสำหรับเศรษฐกิจของประเทศทั้งสองเป็นอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญในสิทธิของตนเองและเป็นแหล่งที่มาของการฝึกอบรมบุคลากรและการศึกษาสำหรับส่วนที่เหลือของเศรษฐกิจ

ระบบมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยการศึกษารวมถึงการเรียนการสอนการวิจัยและกิจกรรมบริการสังคมและจะมีทั้งระดับปริญญาตรี (บางครั้งเรียกว่าการศึกษาในระดับอุดมศึกษา) และจบการศึกษาระดับ (หรือระดับปริญญาโท) (บางครั้งเรียกว่าจบการศึกษา) มหาวิทยาลัยที่มีองค์ประกอบโดยทั่วไปของหลายมหาวิทยาลัย ในสหรัฐอเมริกามหาวิทยาลัยสามารถเป็นส่วนตัวและเป็นอิสระเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยเยลพวกเขาสามารถเป็นของประชาชนและหน่วยงานของรัฐเช่นเดียวกับระบบรัฐเพนซิลวาเนียของการศึกษาระดับอุดมศึกษาหรือพวกเขาสามารถเป็นอิสระ แต่รัฐได้รับการสนับสนุนเช่นเดียวกับมหาวิทยาลัยเวอร์จิเนีย

ดวงรัตน์  แปลว่า “ดวงแก้ว”


นางสาวดวงรัตน์  สวัสดิพงษ์
รหัส 56115550122
สาขาวิชาภาษาไทย